GETTING MY วิกฤตคนจน TO WORK

Getting My วิกฤตคนจน To Work

Getting My วิกฤตคนจน To Work

Blog Article

ผลทางเศรษฐกิจก็ออกมาในรูปแบบที่ยังไม่น่าพึงพอใจ เกิดการสูญเปล่าจากการใช้เงิน เนื่องจากเงินที่เบิกจ่ายไปมีผลต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยรวมที่ต่ำมาก การเพิ่มขึ้นของรายได้ไม่ได้มากพอที่จะนำไปเป็นทุน ทำให้เงินที่เพิ่มขึ้นจึงกลายเป็นส่วนของการบริโภคที่เพิ่มขึ้น ทำให้โครงการดังกล่าวไม่ต่างอะไรกับ “การหว่านเงิน”

ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความนี้เป็นความเห็นของผู้เขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

ในบทความนี้ บีบีซีไทยชวนสำรวจระบบสวัสดิการของรัฐและงานวิจัยที่บ่งชี้ว่า สวัสดิการที่ "ไม่ถ้วนหน้า" ทำให้เกิดปัญหาผู้ตกหล่น และไม่ได้รับสิทธิที่ควรได้รับอย่างไร

นอกจากนี้ ผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มเปราะบางยังต้องการระบบดูแลสุขภาพด้วย หากเกิดอาการเจ็บป่วยจากสภาพอากาศร้อนจัดขึ้นมา เนื่องจาก “ด้วยเงินที่เขามีจำกัด บางทีการเข้าถึงระบบการดูแลรักษาสำหรับคนกลุ่มนี้ก็ยังยากพอสมควร”



“ผ่อนได้ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” ดูเหมือนเป็นประโยคดึงดูดให้กลุ่มลูกค้ารายได้น้อย หรือเข้าไม่ถึงสินเชื่อประเภทอื่นเลือกจับจ่ายใช้สอย สิ่งนี้เกิดขึ้นกับร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กอีกแห่ง

ความยากจน-เหลื่อมล้ำของคนไทย ท่ามกลางโควิด “รุนแรง” ขนาดไหน?

รายงานนี้บอกว่า ด้านการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพมีความครอบคลุมประชากรเกือบทั้งประเทศ

อย่างไรก็ตามวิกฤตครั้งนี้ได้ทำให้ประชาชนจำนวนมากได้หันมามองเห็นปัญหาของความเหลื่อมล้ำและได้มีประสบการณ์ตรงกับระบบสวัสดิการของรัฐ ซึ่งอาจทำให้ทัศนคติของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่เอื้อต่อการผลักดันนโยบายการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย ดังนั้นวิกฤตครั้งนี้อาจเป็นโอกาสที่ดีในการลงมือผ่าตัดโครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่และปัญหาเรื้อรังที่มีอยู่แล้วในคราวเดียว เพื่อนำไปสู่การฟื้นตัวและการเติบโตอย่างทั่วถึงในระยะยาว

คำบรรยายภาพ, สภาพแวดล้อมการทำงานที่ “ร้อน ร้อนแบบสุด ๆ ร้อนแบบอยู่ไม่ได้” ของ น.

ผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าไทยร้องรัฐบาล ขอขยายเวลาผลิต-แก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนฉุดยอดขาย

คำบรรยายภาพ, น.ส.วิมล ถวิลพงษ์ บอกว่า คนจนมีภาระค่าน้ำค่าไฟมากขึ้นในช่วงหน้าร้อนนี้

คำบรรยายภาพ, วิกฤตคนจน รศ.ดร.วิษณุ บอกว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังทำให้ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้นด้วย

ผู้ทำงานอาชีพรับจ้างทั่วไปและเก็บของเก่า ซึ่งอาศัยอยู่ในชุมชนพูนทรัพย์ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร บอกกับบีบีซีไทยว่า อากาศที่ร้อนมากขึ้นกำลังส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และทำให้พวกเขาต้องจ่ายค่าน้ำค่าไฟเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว เนื่องจากใช้ไฟและน้ำมากขึ้น ทั้งที่รายได้เท่าเดิม

Report this page